Click ที่นี่ เพื่อดูการเก็บประจุของตัวเก็บประจุ

ตัวเก็บประจุจะประกอบไปด้วยแผ่นโลหะตัวนำ 2 แผ่นวางห่างกัน โดยมี สารไดอิเล็กทริกกั้นอยู่ระหว่างแผ่นตัวนำทั้ง 2

ตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่สามารถเก็บประจุไฟฟ้าได้  มีการนำไปใช้ในวงจรแรงดัน  วงจรกรองความถี่  และ ใช้ในการถ่ายทอดสัญญาณ (coupling)

Capacitor

C = ค่าคาปาซิแตนซ์  มีหน่วยเป็นฟารัด

V  = โวลต์

Q = ประจุ

A = พื้นที่ของเพลตโลหะเป็นตารางนิ้ว

d = ค่าความห่างระหว่างเพลตโลหะทั้งสองเป็นนิ้ว

  = ค่า permittivity ของฉนวนที่อยู่ระหว่างเพลตทั้งสอง


Q =



I =


I = c


Idt= Cd



Ic= c
P=i
 = uc c
=c uc
P=

Pdt = 



INDUCTOR
•ฟลักซ์แม่เหล็ก
–เมื่อมีการผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในเส้นลวดตัวนำ
–ทิศของเส้นฟลักซ์แม่เหล็กเป็นไปตามกฎมือขวา
•ทิศของกระแสไฟฟ้าถูกกำหนดโดยนิ้วหัวแม่มือ
•ทิศทางการหมุนของนิ้วทั้งสี่จะใช้แสดงทิศของเส้นฟลักซ์แม่เหล็ก

w =


w =


w =   


w =


w =  


wc =

•ฟลักซ์แม่เหล็กรวมจะเป็นสัดส่วนโดยตรงต่อกระแสที่ไหลผ่าน

 

 

–L เป็นค่าคงที่ เรียกว่าค่าความเหนี่ยวนำ (inductance)
•หน่วยเป็นเวบเบอร์ต่อแอมแปร์ (Wb/A)
•แต่หน่วยที่นิยมใช้กันคือ เฮนรี่ (H, henry)
–ค่า L จะขึ้นอยู่กับคุณสมบัติทางแม่เหล็กของขดลวดตัวนำเอง
•เมื่อเพิ่มปริมาณกระแสไฟฟ้าเข้าไปในตัวเหนี่ยวนำ
–จะมีผลให้ฟลักซ์แม่เหล็กรวมเพิ่มขึ้น
•การเปลี่ยนแปลงฟลักซ์แม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดศักดาไฟฟ้าขึ้น
พลังงานสะสมในตัวเหนี่ยวนำ
ค่ากำลังไฟฟ้า ณ. เวลาใดๆ
ตัวเหนี่ยวนำต่ออนุกรมกัน
ตัวเหนี่ยวนำต่อขนานกัน
กลับสู่หน้าแรก

 

 

 

 

 

 

 

 

ค่า  capacitance ของคาปาซิเตอร์หนึ่งฟารัด ก็คือ  ความสามารถของคาปาซิเตอร์  ที่จะสามารถเก็บประจุได้ถึง 1 คูลอมบ์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Free Web Hosting